mardi 20 mars 2012

คำอธบายรายวิชา ผลการเรียนรู้ จดไปให้หมดนะคะ

ฺBienvenue tous les élèves du programme de la langue française de M.607  l'année 2012 à apprendre le français avec Kru Patcharin  SUKANTHA.


คำอธิบายรายวิชา             
  ฝ33241 ภาษาฝรั่งเศสหลัก 5                          กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ (ภาษาฝรั่งเศส)
 ชั้น  ม.6 ภาคเรียนที่ 1                                                   เวลา  120 ชั่วโมง   จำนวน 2.0 หน่วยกิต                                    
                 ปฏิบัติตามคำสั่ง คำขอร้อง คำแนะนำ คู่มือการใช้งานต่างๆ คำบรรยาย และคำชี้แจง อ่านออกเสียงข้อความ ข่าว บทความ ประกาศ โฆษณา และบทร้อยกรองถูกต้องตามหลักการอ่าน ระบุ......วิเคราะห์ความ สรุปความ ตีความ จากการฟังและอ่านจากสื่อที่เป็นความเรียง และไม่ใช่ความเรียง กิจกรรม ข่าว เหตุการณ์ สถานการณ์ ตามความสนใจ สารคดีและบันเทิงคดี พร้อมทั้งให้เหตุผลและยกตัวอย่างประกอบ สนทนาและเขียนโต้ตอบข้อมูล ข่าว เหตุการณ์ ประเด็นที่อยู่ในความสนใจของสังคมและสื่อสารอย่างต่อเนื่องและเหมาะสม ขอและให้ข้อมูล บรรยาย อธิบาย เปรียบเทียบและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องที่ฟัง และอ่าน ประเด็นข่าว เหตุการณ์ที่ฟังและอ่านอย่างเหมาะสม แสดงความรู้สึกความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องต่างๆ กิจกรรม ประสบการณ์ ข่าว/เหตุการณ์ใน  ท้องถิ่น และสังคม พร้อมทั้งให้เหตุผล และยกตัวอย่างประกอบ เลือกใช้ภาษา น้ำเสียงและกริยาท่าทาง เหมาะกับระดับบุคคล โอกาสและสถานที่ตามมารยาทสังคมและวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา ใช้ภาษาในการสื่อสารในสถานการณ์จำลอง/สถานการณ์จริง ที่เกิดขึ้นในห้องเรียน สถานศึกษา ชุมชนและสังคม อธิบาย วิเคราะห์ อภิปราย ความเหมือนและความแตกต่างของวิถีชีวิต ความคิดความเชื่อ ขนบธรรมเนียม ประเพณี และวัฒนธรรมของประเทศฝรั่งเศสกับประทศไทย และนำไปใช้อย่างมีเหตุผล เข้าร่วม นำเสนอ และจัดกิจกรรมทางภาษาและวัฒนธรรมตามโอกาสและความสนใจ ค้นคว้า/สืบค้น บันทึก รวบรวม วิเคราะห์ สรุปความรู้ ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่นจากแหล่งการเรียนรู้ต่างๆ เพื่อการศึกษาต่อและประกอบอาชีพ เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ข้อมูล ข่าวสารของโรงเรียน ชุมชน และท้อง ถิ่น/ ประเทศชาติเป็นภาษาฝรั่งเศส
                   โดยใช้กระบวนการทางภาษา กระบวนการกลุ่ม กระบวนการคิด กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการแก้ปัญหา และกระบวนการสืบค้น
                   เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ ใช้ภาษาสื่อสารได้เหมาะสมกับระดับบุคคล กาลเทศะ ในสถานการณ์จำลองที่เกิดขึ้นในห้องเรียนและสถานศึกษา  เห็นคุณค่าของภาษาฝรั่งเศส  มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทำงาน และรักความเป็นไทย 
ผลการเรียนรู้
1. ปฏิบัติตามคำสั่ง คำขอร้อง คำแนะนำ คู่มือการใช้งานต่างๆ คำบรรยาย และคำชี้แจง
2. อ่านออกเสียงข้อความ ข่าว บทความ ประกาศ โฆษณา และบทร้อยกรองถูกต้องตามหลักการอ่าน
3. ระบุ อธิบาย จับใจความสำคัญ วิเคราะห์ความ สรุปความ ตีความ จากการฟังและอ่านจากสื่อที่เป็นความเรียง และไม่ใช่ความเรียง กิจกรรม ข่าว เหตุการณ์ สถานการณ์ ตามความสนใจ สารคดีและบันเทิงคดี พร้อมทั้งให้เหตุผลและยกตัวอย่างประกอบ
4. สนทนาและเขียนโต้ตอบข้อมูล ข่าว เหตุการณ์ ประเด็นที่อยู่ในความสนใจของสังคมและสื่อสารอย่างต่อเนื่องและเหมาะสม
5. ขอและให้ข้อมูล บรรยาย อธิบาย เปรียบเทียบและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องที่ฟัง และอ่าน ประเด็นข่าว เหตุการณ์ที่ฟังและอ่านอย่างเหมาะสม
6. แสดงความรู้สึกความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องต่างๆ กิจกรรม ประสบการณ์ ข่าว/เหตุการณ์ใน  ท้องถิ่น และสังคม พร้อมทั้งให้เหตุผล และยกตัวอย่างประกอบ
7. เลือกใช้ภาษา น้ำเสียงและกริยาท่าทาง เหมาะกับระดับบุคคล โอกาสและสถานที่ตามมารยาทสังคมและวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา
8. ใช้ภาษาสื่อสารในสถานการณ์จำลอง/สถานการณ์จริง ที่เกิดขึ้นในห้องเรียน สถานศึกษา ชุมชน
9. ค้นคว้า/สืบค้น บันทึก รวบรวม วิเคราะห์ สรุปความรู้ ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่นจากแหล่งการเรียนรู้ต่างๆ เพื่อการศึกษาต่อและประกอบอาชีพ
10. อธิบาย วิเคราะห์ อภิปราย ความเหมือนและความแตกต่างของวิถีชีวิต ความคิดความเชื่อ ขนบธรรมเนียม ประเพณี และวัฒนธรรมของประเทศฝรั่งเศสกับประทศไทย และนำไปใช้อย่างมีเหตุผล
11. เข้าร่วม นำเสนอ และจัดกิจกรรมทางภาษาและวัฒนธรรมตามโอกาสและความสนใจ
12. เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ข้อมูล ข่าวสารของโรงเรียน ชุมชน และท้องถิ่นเป็นภาษาฝรั่งเศส
      รวมทั้งหมด 12  ผลการเรียนรู้

jeudi 24 novembre 2011

ภาษาฝรั่งเศสหลัก 6 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6

24 พฤศจิกายน 2554
เราจะไปศึกษาแหล่งเรียนรู้ ณ ห้างสรรพสินค้า Bic C Extra สาขาหางดง

mercredi 16 novembre 2011

jeudi 4 août 2011

Le temps de futur

Le futur proche
 
            - ใช้บอกเหตุการณ์ที่จะเกิดขึ้นในอนาคต มักจะมีคำต่อไปนี้ในประโยค : demain, prochain(e), bientôt, dans +  เวลา
Ex.       Il arrivera la semaine prochaine.
            Je partirai dans 3 jours.
            - ใช้ในประโยคเงื่อนไข : si + présent, futur simple
Ex.       Si vous cous sentez bien, vous pourrez sortir.
            Tu seras guéri si tu prends ces remèdes.


Le futur simple
            เพื่อแสดงถึงอนาคตอันใกล้
Ex.       Il va chanter dans quelques minutes.
            Nous allons partir tout à l’heure.
*สำนวนที่มีความหมายเหมือน futur proche
            être sur le point de + infinitif
Ex.       Il est sur le point de sortir.
            Nous sommes sur le point de partir.

Le futur antérieur
            ใช้คู่กับ futur simple เมื่อพูดถึง การกระทำในอนาคต 2 เรื่อง เรื่องที่เกิดขึ้นแล้วเสร็จสิ้นก่อนใช้ futur antérieur เรื่องที่เกิดขึ้นแล้วเสร็จสิ้นทีหลังใช้ futur simple
Ex.       Quand nous aurons passé l’examen, nous irons à Chiang Mai.
            J’aurai fini mon travail quand il arrivera.
            Quand je serai partie promené, je rentrerai à la maison.

การใช้ temps présent, futur simple, futur antérieur ให้สัมพันธ์กัน
เมื่อมีตัวเชื่อมประโยคเกี่ยวกับเวลา
1.      quand + présent, présent ใช้เมื่อกล่าวถึงการกระทำที่มักจะเกิดขึ้นด้วยกัน  เสมอๆ ในปัจจุบัน (quand = chaque fois que, toutes les fois que)
Ex.       Quand il fait beau, je me premène dans le jardin.
            Quand on danse, on a toujours soif.
2.      quand + futur simple, futur simple ใช้เมื่อกล่าวถึงการกระทำที่จะเกิดขึ้นพร้อมกันในอนาคตที่จะมาถึง
Ex.       Quand I fera beau, nous sortirons.
            Vouss viendrez avec nous quand nous irons à la campagne.
3.      quand + futur antérieur, futur simple ใช้เมื่อกล่าวถึงการกระทำที่มักจะเกิดขึ้นในอนาคต เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นแล้วเสร็จสิ้นก่อนใช้ futur antérieur เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นแล้วเสร็จสิ้นทีหลังใช้ futur simple  (quand = dès que, après que)
 Ex.      Quand tu auras mangé ton riz, tu auras du dessert.
            Quand j’aurai fait mo devoir, je jouerai avec toi.

Exercice 
I. Mettez aux temps futur simple ou futur antérieur.

1.      Quand Hélène (se laver) ……………. , elle (descendre) ……………. au salon.
2.      Quand tu (faire) …………….. Tes devoirs, tu (pouvoir) …………….venir regarder la télé avec nous.
3.      Dès que les enfants (se laver) ……………. les mains, ils (manger) …………….
4.      Quand vous (se servir) ……………. de ces ciseaux, vous les (mettre) ……………. dans l’armoire.
5.      Dès que nous (se faire) ……………. couper les cheveux, nous (rentrer) …………….
6.      Quand tu (arriver) ……………. au bout de chemin, tu (voir) ……………. le lac.
7.      Quand nous (passer) ……………. une semaine à Nice, nous (partir) ……………. pour l’Italie.
8.      Quand vous (apprendre) ……………. toutes vous leçons, vous (savoir) ……………. le français.
9.      Quand il nous (écrire) ……………., nous (aller) ……………. le voir.
10.  Quand cet enfant (manger) ……………. sa viande, il (avoir) ……………. du dessert.

II. Mettez aux temps présent, futur simple ou futur antérieur.

1.      On ne (rire) ……………. pas toujours quans on (aller) ……………. au cinéma.
2.      Les enfants (avoir) ……………. peur quand ils (entendre) ……………. le tonneurre.
3.      Quand l’automne (arriver) ……………., les arbres perdront leurs feuilles.
4.      L’été prochaine quand nous (aller) ……………. à la mer, nous vous y (emmener) …………….
5.      Après que tu (répondre) ……………. à mes questions, tu seras libre de partir.
6.      Dès que les enfants (arriver) ……………., vous m’avertirez.
7.      Nous restons chez nous quand il (pleuvoir) …………….
8.      Jean et jaques lisent le journal pendant que Nathalie et as soeur (écrire) ……………. des lettres.
9.      Quand le professeur entre, les élèves (arrêter) ……………. de bavarder.
10.  Quand tu ( leire) ……………. ce roman, tu me le prêteras.

mercredi 6 juillet 2011

Concert @ YRC

คลิ๊กที่รูปภาพแล้วจะเจอรูปของนักเรียนและเพื่อนๆ

mardi 21 juin 2011

Mode conditionnel

Mode conditionnel
            หมายถึง การใช้กริยาในประยคสมมติ ดังนั้นคำกริยานั้นเป็นเรื่องที่ไม่เป็นจริง เราอาจสมมติเอาเป็นเรื่องในอดีต ปัจจุบัน หรืออนาคต
1. Le conditionnel présent

Form    ข้างหน้าเป็น futur simple ส่วนหางเป็น imparfait
ตัวอย่างการกระจายของกริยาที่ไม่เป็นไปตามกฎ
verbe
Le futur simple
Le conditionnel
Présent
vouloir
Je voudrai
Je voudrais
Nous voudrions
pouvoir
Je pourrai
Je pourrais
Nous pourrions
être
Je serai
Je serais
Nous serions
avoir
J’aurai
J’aurais
Nous aurions
faire
Je ferai
Je ferais
Nous ferions
acheter
J’achèterai
J’achèterais
Nous acheterions
appeler
J’appellerai
J’appellerais
Nous appelerions

วิธีใช้
1.      ใช้ในประโยคสมมติที่เป็นไปไม่ได้ในปัจจุบัน เป็นเรื่องที่เราฝันอยากให้เป็นเช่นนั้น เช่น ถ้าเรามีเงินมากๆ เราจะซื้อรถใหม่  กริยาจะซื้อ เป็นเรื่องที่อยากทำแต่ทำไม่ได้เพราะในขณะนี้มีเงินไม่มากพอ
            **  si + imparfait, conditionnel présent  **
ð  Si j’avais beaucoup d’argent, j’achèterais une nouvelle voiture.
2.      ใช้ใน style indirect เมื่อกริยานำเป็นอดีตกริยาที่อยู่ในเครื่องหมายคำพูดที่เป็น futur simple จะเปลี่ยนเป็น conditionnel présent ในความหมาย futur dans le passé
Ex. “Je viendrai.” a-t-il dit.
ð  Il a dit qu’il viendrait.
ต่างกับ             “Je viendrai.” dit-il.
ð  Il dit qu’il viendra.
3.      ใช้กับกริยาต่อไปนี้เพื่อแสดงความสุภาพเมื่อจะให้คำแนะนำหรือขอคำแนะนำ ขอความช่วยเหลือ
Ex.       J’aimerais voir ce film.
            Vous devriez vous adresser au bureau renseignements.
            Allô, est-ce que je pourrais parler à Étienne, s’il vous plaît?

2. Le conditionnel passé

Forme             être/avoir ใน temps conditionnel présent + participe passé

วิธีใช้    ใช้ในประโยคเงื่อนไขที่ไม่เป็นจริงในอดีต ในความหมายว่าน่าจะได้ทำอย่างนั้น แต่ปัจจุบันแก้ไขอะไรไม่ได้เพราะเรื่องได้ผ่านไปแล้ว

            **  Si + plus-que-parfait, conditionnel passé  **
Ex. Si j’avais bien travaillé, je naurais pas échoué à l’examen.
ð  ผลการสอบคือสอบตก จึงนึกเสียใจว่าถ้าในช่วงเวลาที่ผ่านมาตั้งใจเรียนหนังสือก็คงจะสอบไม่ตก แต่สายไปแล้ว
Mettez les verbees entre parenthèses aux temps convenables.
1.      Vous (avoir) ……………….. une bonne note si vous aviez bien su votre leçon.
2.      Si tu (prendre) ……………….. l’autre chemin, tu serais rentré plus tôt.
3.      Si nous étions riches, nous (acheter) ……………….. une voiture française.
4.      Si vous (conduire) ………………..prudemment, vous n’auriez pas eu l’accident.
5.      Cette question (ne pas être) ……………….. difficile si vous réfléchissez bien.
6.      Elle (prendre) ……………….. cette robe-là si elle avait eu assez d’argent.
7.      Si Jean-Pierre n’avait pas tourné trop brusquement, la voiture (ne pas heuter) ……………….. d’arbre.
8.      Hier, s’il (ne pas pleuvoir) ……………….., nous (faire) ……………….. une promenade dans le forêt.
9.      Si tu étais descendu lentement, tu (ne pas tomber) ………………..
10.  Si j’avais assez d’argent, je (faire) ……………….. le tour du monde.
11.  Si vous (être) ……………….. studieux, vous seriez reçu à l’examen.
12.  Vous vous portieriez mieux si vous (faire) ……………….. du sport.
13.  Si je n’avais pas trop bu, ma femme (ne pas partir) ………………..
14.  Si j’(avoir) ……………….. du temps et beaucoup d’argent, je (ne plus travailler) ……………….., je (partir) ……………….. et je ferais le tourdu monde.
15.  Si nous nous sentons fatigués, le grand air nous (faire) ……………….. du bien.
  Exercice

jeudi 2 juin 2011

แจ้งคะแนนสอบกลางภาค

จิรวัฒน์
10.5 
ทวีศักดิ์
 11
4.5 
ธัชธรรม
 8
8.75 
อภิเชษฐ์
 6
19.75 
เจษฏาวุฒิ
 14
3.75             
จิตรลดา
 3
11.75 
ทิพย์รัตน์
 20
45 
ธวัลรัตน์
 8
24 
ปริยาภรณ์
 9
23.75 
ปริสนา
 14
15 
พิธุกานต์
 15
15.25 
รัชดาภรณ์
 11
18.75 
ศรีธิดา
 13.5
9.5 
สุกัญญา
 19.5
41